วิธีการ เขียนเรียงความเชิงแสดงความคิดโต้แย้ง

วิธีการ เขียนเรียงความเชิงแสดงความคิดโต้แย้ง

เรียงความเชิงแสดงความคิดโต้แย้งหรือตอบรับทำให้นักเขียนต้องวิเคราะห์เนื้อหา จากนั้นจึงสร้างความเห็นที่เกี่ยวข้อง มันเป็นเรียงความในโรงเรียนที่ได้รับความนิยมเพราะมันต้องใช้การอ่านอย่างถี่ถ้วน การค้นคว้าและการเขียน คุณสามารถเรียนรู้วิธีการเขียนเรียงความเชิงแสดงความคิดโต้แย้งได้ด้วยการทำตามเคล็ดลับการเขียนเหล่านี้

ส่วน1 การเตรียมตัวเขียนและอ่านอย่างตั้งใจ

ส่วน1  การเตรียมตัวเขียนและอ่านอย่างตั้งใจ
  • เข้าใจจุดประสงค์ของเรียงความเชิงแสดงความคิดโต้แย้ง. เรียงความเชิงแสดงความคิดโต้แย้งหรือการเห็นพ้องด้วยถูกมอบหมายให้คุณหลังจากการอ่านข้อความ
  • ดูว่าเรียงความนี้เกี่ยวข้องกับอะไร. ก่อนที่คุณจะเขียนเรียงความ คุณต้องดูให้แน่ใจว่าคุณครูหรืออาจารย์กำลังมองหาอะไร
  • อ่านเนื้อหาหลังจากที่คุณได้รับมอบหมายทันที. คุณไม่เพียงแต่ต้องอ่าน ให้ความคิดเห็นและเขียนเรียงความเพื่อทำเรียงความแสดงความคิดโต้แย้งให้เสร็จสมบูรณ์
  • เขียนความคิดโต้แย้งแรกๆ ลงบนกระดาษ. หลังจากที่คุณได้อ่านครั้งแรกก็ควรเขียนความคิดโต้แย้งแรกๆ ที่มีต่อเนื้อหาลงบนกระดาษ
  • อธิบายเนื้อหาในขณะที่อ่าน. ในขณะที่คุณอ่านเนื้อหาอีกครั้งก็ควรอธิบายมัน
    ตั้งคำถามในขณะที่อ่าน. คุณต้องเริ่มตั้งคำถามเนื้อหาในขณะที่อ่าน

ส่วน2 การร่างเรียงความของคุณ

ส่วน2  การร่างเรียงความของคุณ
  • เขียนอย่างอิสระ. เริ่มด้วยการเขียนปฏิกิริยาและการประเมินแนวคิดของผู้แต่งอย่างเป็นอิสระ พยายามเขียนสิ่งที่คุณคิดว่าผู้แต่งพยายามทำและคุณเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับมัน
  • ตัดสินใจเกี่ยวกับมุมมอง. เรียงความเชิงแสดงความคิดโต้แย้งต้องเป็นเชิงวิจารณ์และมีการประเมินเนื้อหา
  • พิจารณาบทความของคุณ. เมื่อคุณได้ทำการเขียนที่อิสระเสร็จสมบูรณ์และหามุมมองเจอแล้ว คุณก็สามารถใช้สิ่งนี้ในข้อโต้แย้ง
  • จัดการเรียงความของคุณ. เรียงความของคุณต้องทำตามรูปแบบเรียงความพื้นฐาน
  • รวบรวมคำหยิบยก. หลังจากที่คุณได้จัดการแนวคิดให้เป็นย่อหน้า
  • สร้างเค้าโครงย่อหน้า. ย่อหน้าของคุณต้องเริ่มด้วยประโยคหัวข้อ

ส่วน3 การเขียนร่างฉบับสุดท้ายของคุณ

ส่วน3  การเขียนร่างฉบับสุดท้ายของคุณ
  • เขียนบทนำ. บทนำของคุณต้องพูดชื่อของเนื้อหา
  • อ่านย่อหน้าที่เป็นความคิดโต้แย้งซ้ำเพื่อทำให้มั่นใจว่าคุณมีเหตุผล. ถึงแม้ว่าเรียงความเชิงแสดงความคิดโต้แย้งส่วนใหญ่ไม่ได้มีเพื่อความคิดเห็นส่วนตัว
  • อธิบายการตีความเนื้อหาที่กว้างขึ้นสำหรับชั้นเรียน ผู้แต่ง ผู้ฟังหรือตัวเอง. วิธีที่ดีในการวิเคราะห์และประเมินเนื้อหาคือเชื่อมต่อมันกับแนวคิดอื่นที่คุณได้กล่าวในชั้นเรียน
  • แก้ไขเพื่อให้มีความชัดเจนและความยาวที่เหมาะสม. เรียงความแสดงปฏิกิริยามักจะมีขนาดสั้น
  • ตรวจทานและตรวจการสะกดเนื้อหา. ตรวจทานด้วยการอ่านเพื่อหาการผิดพลาดทางไวยากรณ์
  • ถามตัวเองว่าคุณได้ตอบรับเรียงความนี้อย่างเหมาะสมหรือไม่. ตรวจสอบคำแนะนำของเรียงความอีกครั้ง